top of page
S__16728080.jpg

B STRONG

ออกเบาฯ ช่วยคุณแก้ปัญหา

มวลกล้ามเนื้อลดลง (sarcopenia)

แรงขาเริ่มถดถอยลง

ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยคืออะไร ?

 

ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย (Sarcopenia)

เป็นการลดลงของมวลกล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ส่งผลต่อสมรรถนะของร่างกาย เมื่ออายุเข้าสู่อายุช่วง 40 ปีขึ้นไป

ร่างกายจะเริ่มมีการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ

"เมื่ออายุ 70 ปีขึ้นไป

การสลายของมวลกล้ามเนื้อจะเพิ่มมากถึง 15% ทำให้เห็นได้ว่า

มวลกล้ามเนื้อของเราจะหายไปถึง 1 ใน 3"

โดยภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยลง

ในผู้สูงอายุถือเป็นปัจจัยสำคัญที่เพิ่มความเสี่ยง

ในการหกล้ม เกิดการบาดเจ็บต่อร่างกาย กระดูกหัก หรือ ร้าว

ส่งผลกระทบกับสุขภาพ และการทำกิจวัตรประจำวัน

ฟีดแบ็คจากผู้เข้าโปรแกรม กับบีสตรอง

บีสตรอง คืออะไร 

ติดตามเคล็ดลับดูแลสุขภาพในวัย 50+ โดย “โค้ชเอ้”

และทีมผู้เชี่ยวชาญจาก B STRONG THAILAND ได้ที่

วิธีที่ 2 ลุกนั่ง 30 วินาที

วิธีทดสอบโดยการลุกนั่งจากเก้าอี้ว่าสามารถทำได้กี่ครั้งในเวลา 30 วินาที  เป็นการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและก้นที่ใช้ในการลุกขึ้นยืน เดินขึ้นบันได หรือลงนั่ง  

วิธี 1 การยืนขาเดียว

เป็นการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาแต่ละข้าง ว่ามาสามารถทรงได้ดีมากน้อยแค่ไหน เมื่อเทียบกับคนอื่น ๆ ในช่วงอายุเดียวกัน ให้เตรียมนาฬิกาจับเวลา เมื่อพร้อมให้ยืนตรง เท้าสองข้างชิดกัน มือวางข้างลำตัว (เพื่อความปลอดภัยให้มีกำแพงหรือโต๊ะเพื่อให้เกาะได้ขณะทดสอบ สำหรับเวลาที่อาจเสียสมดุลย์) 

การทดสอบมีขั้นตอนดังนี้

  1. เริ่มจากทดสอบขาข้างขวา โดย วางมืออยู่ข้างลำตัว

  2. ยกเท้าซ้ายสูงขึ้นจากพื้นอย่างน้อย 12 นิ้ว และเริ่มจับเวลา

  3. จับเวลาขณะยกเท้าซ้าย หยุดเวลาเมื่อมีการเซ หรือเสียสมดุลย์

  4. บันทึกเวลา และ สลับไปทำอีกข้าง 

  5. ทำทั้งหมด 3 ครั้งและหาค่าเฉลี่ย

 

ให้เทียบเวลาค่าเฉลี่ยของคุณกับค่าเฉลี่ยจากงานวิจัย  ด้านล่างนี้

อายุ 50 - 59 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 37 วินาที

อายุ 60 - 69 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 27 วินาที

อายุ 70 - 79 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 19 วินาที

การทดสอบมีขั้นตอนดังนี้

  1. เริ่มจากทดสอบขาข้างขวา โดย มืออยู่ข้างลำตัว

  2. ยกเท้าซ้ายสูงขึ้นจากพื้นอย่างน้อย 12 นิ้ว และเริ่มจับเวลา

  3. จับเวลาขณะยกเท้าซ้าย หยุดเวลาเมื่อมีการเซ หรือเสียสมดุลย์

  4. บันทึกเวลา และ สลับไปทำอีกข้าง 

  5. ทำทั้งหมด 3 ครั้งและหาค่าเฉลี่ย

 

ให้เทียบเวลาค่าเฉลี่ยของคุณกับค่าเฉลี่ยจากงานวิจัย  ด้านล่างนี้

อายุ 50 - 59 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 37 วินาที

อายุ 60 - 69 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 27 วินาที

อายุ 70 - 79 ปี ควรมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 19 วินาที

3 สาเหตุที่ “มวลกล้ามเนื้อลดลง”

1. การใช้กล้ามเนื้อลดลง หรือออกกำลังกายน้อยเกินไปการออกกำลังไม่เพียงพอ

เพราะว่าในผู้สูงอายุบางคนที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย โดยชีวิตนั่ง ๆ นอน ๆ และเมื่ออายุเยอะขึ้นสิ่งที่เกิดตามมา คือ ร่างกายจะมีการสูญเสียกล้ามเนื้อมากกว่าการสร้างกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อของเราลดลงไปเรื่อย ๆ ในทุก ๆ ปี

​2. การบริโภคอาหารที่ลดลง โดยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีนเมื่ออายุเริ่มมากขึ้น

กล้ามเนื้อมีการสูญเสียประมาณ 1 - 2% ต่อปี โดยปริมาณที่ควรบริโภคขึ้นอยู่กับปริมาณและความหนัก ของกิจกรรมที่ทำในแต่ละวันนั้น ๆ ซึ่งเมื่อมีการบริโภคโปรตีนลดลงก็จะทำให้การสร้างกล้ามเนื้อลดลงไปด้วย โดยเฉลี่ยควรบริโภคโปรตีน 1-2 กรับ ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโล (เช่นหนัก 50 กิโลควรบริโภคโปรตีน 50-100 กรัม เป็นต้น)

​3.ฮอร์โมนลดลง ทำให้การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และเสริมสร้างกล้ามเนื้อ

ไม่ทันกับการสูญเสียของกล้ามเนื้อที่หายไปในแต่ละวัน ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันแย่ลง ระบบกล้ามเนื้อและการเผาผลาญมีประสิทธิภาพลดลง รู้สึกไม่กระฉับกระเฉง กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง หรือ ความแข็งแรง กล้ามเนื้อลดลง

โดยมีวิธีดังนี้  

  1. นั่งบนเก้าอี้ที่สูงจากพื้น 17 นิ้ว

  2. วางมือทั้ง 2  ข้างไว้ที่หน้าอก  

  3. เริ่มลุกขึ้นยืน และนั่งลงให้ได้มากที่สุดในเวลา 30 วินาที 

  4. เมื่อหมดเวลา ให้เทียบจำนวนครั้งของคุณกับตารางด้านล่าง

อายุ 60 - 64 ปี ผู้ชาย 14 ครั้ง  ผู้หญิง 12 ครั้ง 

อายุ 65 - 69 ปี ผู้ชาย 12 ครั้ง  ผู้หญิง 11 ครั้ง 

อายุ 70 - 79 ปี ผู้ชาย 12 ครั้ง  ผู้หญิง 10 ครั้ง 

แหล่งที่มา คำแนะนำของ CDC 

Exclusively at Our Online Store

B STRONG

01.

เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อส่วนบน เช่น มือหรือแขน ให้มีกล้ามเนื้อและมีแรงมากขึ้น แนะนำ Set Upper Body >

02.

เพิ่มตวามแข็งแรงของกล้ามเนื้อส่วนล่าง เช่น ขา เพื่อช่วยในการยืนการเดินที่นานขึ้น มั่นคงขึ้น  แนะนำ Set Lower Body >

03.

เพิ่มฮอร์โมนการเติบโต (Growth Hormone) 

เสริมสร้างกล้ามเนื้อ เพิ่มมวลกระดูก เพื่อการชลอวัย 

(anti-aging) แบบวัดผลได้ แนะนำ Set Full Body >

แค่ใส่สายรัด B Strong กล้ามเนื้อก็แข็งแรงได้

เพียงออกกำลังกายเบาๆ

เพิ่มโกรทฮอร์โมนร่างกาย ด้วยสายรัด B Strong

กับ "โค้ชเอ้"

เปรียบเทียบ 3 โปรแกรม เพิ่มมวลกล้ามเนื้อ

ในส่วนนี้เราพูดถึงแค่เรื่องของการบริหารกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่อีก 2 ปัจจัยที่สำคัญคือการพักผ่อน และการทานโปรตีนให้เพียงพอเพื่อเป็นสารอาหารที่ใช้ในการซ่อมแซมและเสริมสร้างกล้ามเนื้อให้กับเราได้  ทางเลือกในการออกกำลังกายมีหลายทางเลือกด้วยกัน แต่เราจะเปรียบเทียบใน 3 โปรแกรมด้วยกัน

โปรแกรมที่ 1 ออกกำลังกายเองที่บ้าน  ใช้บอดี้เวท ใช้ถุงทราย ดัมเบล step-up เสื่อโยคะ

ค่าใช้จ่าย (*) สำหรับบอดี็เวท ไม่มี คชจ.  ค่าอุปกรณ์เช่นดัมเบล ถุงทรายราคาย่อมเยาว์

ข้อดี  ออกได้เอง ออกเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ต้องเดินทาง ใช้ต้นทุนอุปกรณ์ต่ำ ทำได้ทุกวัน

ข้อเสีย น้ำหนักที่ใช้อาจเบาเกินไปทำให้กล้ามเนื้อไปไม่ถึงจุดล้า ใช้เวลาประมาณ 30-60 นาทีเป็นอย่างน้อย ท่าที่ใช้ออกอาจไม่ตรงจุดกับมัดกล้ามเนื้อที่ต้องการ

ระยะเวลาในการเห็นผล (*) ขึ้นอยู่กับแรงจูงใจในการออกของตนเอง

โปรแกรมที่ 3 ออกกำลังกายแบบเบา ๆ ที่บ้านด้วยบีสตรอง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 15-20 นาที

ค่าใช้จ่าย (**) รวม 6,800 บาท (รวมค่าเช่าอุปกรณ์ และมีมัดจำ 8,000 บาท ได้รับคืนเมื่อคืนอุปกรณ์)

ข้อดี  มีการประเมิน และแนะนำท่าออกฯ ที่เบา ๆ ใช้เวลาในการออกเพียงครั้งละ 15 - 20 นาที ด้วยการเกร็งกล้ามเนื้อ และการใช้น้ำหนักตัวในการออกฯ เพียงสัปดาห์ละ 3 ครั้ง หรือ วันเว้นวันและพัก 2 วัน เนื่องจากใช้น้ำหนักที่เบาในการออกฯ ทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาดน้อยจึงสามารถออกได้บ่อยขึ้น อาจออกได้ถึง 5 วันต่อสัปดาห์ การออกด้วยบีสตรองช่วยเพิ่มโกรทฮอร์โมน ที่ช่วยทำให้ร่างกายฟื้นฟูได้ไวขึ้นอีกด้วย สอบถามท่าออกได้ที่(กดได้เลย) Line @bstrongthailand

ข้อเสีย แรก ๆ อาจไม่คุ้นเคยกับการมีสายรัดบริเวณต้นขา ออกฯ ช้า ๆ เรื่อย ๆ อาจรู้สึกเบื่อได้ และในเดือนที่ 2 ควรมีการเปลี่ยนท่าออกฯ ที่เข้มข้นขึ้นให้เหมาะกับขาที่แข็งแรงขึ้น

ระยะเวลาในการเห็นผล (***) สัมผัสได้ถึงกล้ามเนื้อที่ถูกใช้งานได้ลึกขึ้นตั้งแต่ครั้งแรกในการออกฯ และเห็นถึงความแข็งแรงของขาได้หลังจากออกไปแล้ว 10 ครั้ง หรือประมาณ 4 สัปดาห์  

B Strong อุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่
ที่ใช้ในการเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ หรือ

สร้างกล้ามเนื้อให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง B Strong

เป็นระบบที่ช่วยในการออกกำลังกาย

ด้วยเทคนิค BFR (BLOOD FLOW RESTRICTION) TRAINING

เทคนิคการออกกำลังกายแบบ

ชะลอการไหลเวียนโลหิตที่เมื่อ

นำมาใช้ควบคู่กับการออกกำลังกายเบาๆ

จะทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นได้อย่างรวดเร็ว

แม้จะใช้น้ำหนักที่เบา เห็นผลในระยะเวลาสั้นๆ

ก็สามารถเพิ่มมวลกล้ามเนื้อให้เพิ่มขึ้นได้

รวมถึงให้คุณสามารถใช้ชีวิตได้อย่างคล่องตัว

และมีความสุขมากยิ่งขึ้น

ตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเพิ่มมวลกล้ามเนื้อที่บ้านได้ด้วยตนเอง

นวัตกรรมใหม่จากประเทศสหรัฐอเมริกา

ที่แพทย์และนักกีฬาอาชีพไว้วางใจ

"มารู้จักวิธีการทำงานของ B Strong กันคับ"

คุณกำลังประสบปัญหานี้หรือไม่

ให้ B Strong

คืนชีวิตที่กระฉับกระเฉงให้คุณอีกครั้ง

กับโปรแกรม 4 สัปดาห์ขาแข็งแรง

กับบีสตรอง*

✅ เดินไม่ได้นานเหมือนก่อน

✅ เสียการทรงตัวง่ายขึ้น หกล้มบ่อยขึ้น

✅ ขามีกำลังถดถอยลง

✅ ขาลีบ หรือ กล้ามเนื้อเริ่มหายไป

✅ ลุกยืนลำบากขึ้น ต้องใช้มือช่วยค้ำ

✅ เดินช้าลง ค่อย ๆ ขึ้นบันได

เมื่ออายุมากขึ้น..

ระดับฮอร์โมนลดลง 

กล้ามเนื้อลดลง 

ความแข็งแรงขาลดลง

 

อุปกรณ์ช่วยประสิทธิภาพการออกกำลังกาย

B Strong สามารถใช้ได้กับคนสูงวัย วัยทำงาน

นักกีฬา รวมไปถึง ผู้ที่กล้ามเนื้ออ่อนแรง

ที่แพทย์แนะนำให้ออกกำลังกาย

หรือทำกายภาพบำบัดด้วยตนเองที่บ้าน

ด้วยเทคโนโลยีสุดล้ำจากประเทศอเมริกา ระบบ BFR

Training ที่สามารถใช้ได้ง่าย และปลอดภัย

อาจเริ่มพบกับภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย (Sarcopenia)

ซึ่งนำไปสู่การหกล้ม การบาดเจ็บ กระดูกสะโพกหักร้าวได้ง่ายขึ้น

  B Strong ตัวช่วยที่ใช้เองที่บ้านได้ ใช้งานง่าย ปลอดภัย ได้ผล

เราขอขอบคุณ โรงพยาบาล และคลีนิคกายภาพ ที่ให้ความไว้วางใจในอุปกรณ์ บีสตรอง

และผู้ที่รักการดูแลสุขภาพให้ความไว้วางใจ

สามารถติดต่อใช้บริการ  B Strong BFR Training ได้ที่ รพ.เชียงใหม่ราม รพ.ภูมิพล รพ.สมิติเวช (สุขุมวิท)  รพ.จุฬาภรณ์

สหคลินิคสวนสุขภาพอรุณ  fixme สุภัคคลินิคกายภาพบำบัดศรีราชา ม.มหิดลกายภาพ